วันอังคารที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2553

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่7

เมื่อวานเพิ่งส่งบทความในคอลัมน์ของ On Open ไป เขียนสรุปและวิจารณ์บทความของ Nunberg เรื่อง ความผิดพลาดในเชิงเมทาดาตาของ Google Book Search ที่ตีพิมพ์ลงใน The Chronicle of Higher Education ไป คาดว่าคงจะได้อ่านกันเร็ว ๆ นี้

แต่บังเอิญว่ามาเจอแหล่งข้อมูลเพิ่มเติม เลยเขียนต่อยอดไว้ก่อน

อันแรกเป็น blog post ที่เขียนสรุปเนื้อหาการนำเสนอของ Nunberg ในงานสัมมนาเรื่อง Google Book Search and the Future of Information Access ในเนื้อหาของ post ก็เหมือนกับที่เขียนไว้ใน The Chronicle แต่ที่น่าสนใจคือ ส่วน comment ด้านล่าง โดยเฉพาะของ Jon Orwant จาก Google

อีกอันหนึ่งเป็น ข้อคิดเห็นของ Eric Hellman ซึ่งไม่เชิงเห็นแย้งเสียทีเดียว แต่ก็ออกแนวกัดหยิกอยู่ไม่น้อย

อย่างไรก็ตาม พอเป็นประเด็นร้อนขึ้นมา ทุกคนก็ดูเหมือนว่ากำลังหาทางช่วย Google คิด ว่าจะแก้ปัญหาอย่างไร

มองอย่างนี้ Google ก็อาจจะคิดว่า เออ ดีแฮะ มีคนมาช่วยคิดแก้ปัญหาให้ โดยไม่ต้องจ้าง

ในขณะที่มาช่วยคิด ก็ดูเหมือนว่า จะไม่ได้คำนึงถึงว่า Google Book เป็นของ Google แต่มองว่าเป็นแหล่งความรู้ “สาธารณะ” ต่างหาก ที่ทุกคนต้องช่วยกันดูแล
ที่มา
http://iteau.wordpress.com/2009/09/03/gbsmetadata/

วันอังคารที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2553

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่ 6

Google Planet (Book)
หนังสือเล่มใหม่โดย Randall Stross จะออก; เรียกว่า"Planet Google"และครอบคลุมจุดเริ่มต้นของ Google แต่การกระทำล่าสุดของพวกเขาและปัญหา มันเป็นดีมาก, อ่านสูงทั้งวิจัยและการแนะนำที่ทันสมัยเพื่อให้เรื่องและจะมีบิตและส่วนของผู้ที่สนใจต่อไป Google ยิ่งสำหรับอีก Randall ทั้งพูดคุยกับพนักงาน Google และได้มีที่หนึ่งของ Google Thank ประชุม - God - It's - วันศุกร์ (ที่พนักงานสามารถถามคำถาม) แต่เขายัง apparently มีหูของเขาใกล้กับเว็บเขียนหนังสือ ตัวอย่างเช่นคุณจะพบบล็อกมาและความคิดเห็น FriendFeed ในวัสดุ


หนังสือเล่มนี้อย่างกว้างขวางตรงเข้าประเภทประวัติ บริษัท ที่ต้องการค้นหาโดย John Battelle หรือ Google Story by David เพิ่มเติม เพราะ Planet Google เป็นใหม่ดังนั้นแม้หัวข้อเมื่อเร็ว ๆ เหมือน Knol หรือ OpenSocial จะครอบคลุม (Google Chrome ไม่ได้ทำให้มันเป็นหนังสือ แต่ . ) หนังสือยังไม่ได้งานที่ดีในการหลีกเลี่ยงการ oversimplify รูปแบบบางอย่างเราสามารถดูด้วย Google; เช่นบทแรกเรียกว่า"เปิดและปิด"อธิบายทั้ง วิธีการที่ Google เปิดถึงโลก -- เช่นผ่านทางโครงการมาเปิด -- แต่วิธีการต่างๆที่พวกเขายังคงปิดและไม่โปร่งใส
ที่มาhttp://blogoscoped.com/archive/2008-10-06-n68.html

ส่งงานe-books

3-catucak.pdf - book search ตลาดนัดจตุจักร ที่บริษัทชวงพักเที่ยง เพื่อน
ที่มาhttp://e-bookmarket.com/index.php?keyword=%E0%B8%95%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%88%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3&page=results&filetype=pdf
16960.pdf - book search ทํามาคาขายในตลาดนัด เรื่อง บุญเตือนภาพ อุรา
ที่มาhttp://e-bookmarket.com/index.php?keyword=%E0%B8%95%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%88%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3&page=results&filetype=pdf
training-jatujak.pdf - book search ยfฝกอาชีพจตุจ
ที่มาhttp://e-bookmarket.com/index.php?keyword=%E0%B8%95%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%88%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3&page=results&filetype=pdf

วันอังคารที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2553

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่ 5

Google ประกาศส่ง ‘อีบุ๊ก’ กรกฎาคมนี้ !!!
กูเกิล (Google) ประกาศอย่างเป็นทางการ เตรียมร่วมวงธุรกิจจำหน่ายไฟล์หนังสืออิเล็กทรอนิกส์หรืออีบุ๊กเพื่อให้ผู้บริโภคกรกฎาคมนี้
กูเกิลตั้งชื่อร้านอีบุ๊กออนไลน์ว่า "Editions" ภายในร้านจะประกอบด้วยหนังสือถูกลิขสิทธิ์ที่ได้รับอนุญาตจากสำนักพิมพ์อย่างเป็นทางการ ผู้ซื้ออีบุ๊กจากกูเกิลจะสามารถอ่านหนังสือได้บนอุปกรณ์ทุกชนิดที่มีโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ ตั้งแต่สมาร์ทโฟน เครื่องอ่านอีบุ๊กพกพา และคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทั้งแบบพกพาและแบบตั้งโต๊ะ

กาเบรียล สตริคเกอร์ (Gabriel Stricker) โฆษกกูเกิลระบุว่า อีบุ๊กของกูเกิลสามารถเปิดอ่านได้บนเครื่องอ่านคินเดิล (Kindle) ของอเมซอน ไอแพด (iPad) ของแอปเปิล และสามารถเปิดอ่านบนอุปกรณ์ทุกชนิดที่รองรับอีบุ๊กมาตรฐานเปิด "epub" ของกลุ่ม International Digital Publishing Forum ซึ่งนานาสำนักพิมพ์ใช้เป็นมาตรฐานในการผลิตอีบุ๊กอยู่ในขณะนี้

นี่คือความคืบหน้าล่าสุดหลังจากกูเกิลเริ่มต้นเชิญสำนักพิมพ์ให้ร่วมธุรกิจจำหน่ายหนังสือเพื่อให้ผู้บริโภคได้อ่านแบบออนไลน์ครั้งแรกในปี 2006 โดยสตริคเกอร์ยืนยันว่า Editions จะเป็นธุรกิจที่ไม่เกี่ยวข้องกับโครงการสแกนหนังสือ Google Book Search ซึ่งมีจุดประสงค์ให้ชาวออนไลน์สามารถค้นหาบทความในหนังสือทุกชนิดบนโลก (รวมถึงหนังสือที่ไม่ถูกตีพิมพ์) ได้แบบสะดวกสบาย

สิ่งที่เกิดขึ้นหนีไม่พ้นอุณหภูมิการแข่งขันในธุรกิจจำหน่ายหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่จะทวีความดุเดือดอีกแน่นอนนับจากนี้ โดยก่อนหน้านี้ อเมซอน (Amazon) ได้โหมไฟแข่งขันด้วยการอัปเดทผลิตภัณฑ์คินเดิลของตัวเองให้มีความสามารถเพิ่มขึ้น หวังต่อสู้กับแอปเปิล (Apple) ที่สามารถจำหน่ายไอแพดได้เกิน 1 ล้านเครื่องแล้วในขณะนี้ ซึ่งคาดว่าจะมีการประกาศความเคลื่อนไหวอื่นๆ โดยเฉพาะด้านราคาและกลยุทธ์การตลาด ตามมาอีกในอนาคต
ที่มาhttp://www.voicetv.co.th/content/12559/Googleประกาศส่ง‘อีบุ๊ก’กรกฎาคมนี้